ชมรมนักวิทยุสมัครเล่นแก่นทอง จังหวัดขอนแก่น ความถี่ 144.750 MHz

ข้อมูลข่าวสารทั่วไป => เตือนภัยใกล้ตัวและฟ้องด้วยภาพ => ข้อความที่เริ่มโดย: kaentong ที่ 16 กุมภาพันธ์ 2022, 21:01:28

หัวข้อ: ระวังมิจฉาชีพทางโทรศัพท์ แก็งคอลเซ็นเตอร์ 14 รูปแบบ มีอะไรบ้าง
เริ่มหัวข้อโดย: kaentong ที่ 16 กุมภาพันธ์ 2022, 21:01:28
ระวังมิจฉาชีพทางโทรศัพท์ แก็งคอลเซ็นเตอร์ 14 รูปแบบ มีอะไรบ้าง

ระวังมิจฉาชีพทางโทรศัพท์ แก็งคอลเซ็นเตอร์ 14 รูปแบบ โดยเมื่อช่วงบ่ายวันที่ 15 กุมภาพันธ์ 2565 สำนักงาน กสทช. ร่วมประชุมหารือกับศูนย์ปราบปรามอาชญากรรมทางเทคโนโลยีสารสนเทศ (ศปอส.ตร.) หรือ ศูนย์ PCT ที่นำโดย พล.ต.อ.ดำรงศักดิ์ กิตติประภัสร์ รอง ผบ.ตร. ผู้แทนกระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม (ดีอีเอส) และผู้ให้บริการโทรศัพท์เคลื่อนที่ทุกราย ได้แก่ AIS TRUE DTAC และ NT เกี่ยวกับความร่วมมือในการแก้ไขปัญหา Call Center และ SMS หลอกลวง

โดยสำนักงาน กสทช. พร้อมให้ความร่วมมือกับ สตช. และกระทรวงดีอีเอส ในการแก้ไขปัญหาดังกล่าว และยังจะร่วมกับโอเปอเรเตอร์ในการดำเนินการประชาสัมพันธ์ ให้ความรู้แก่ประชาชนเกี่ยวกับรูปแบบอาชญากรรมทางเทคโนโลยีที่มิจฉาชีพมักใช้ในการหลอกลวง เพื่อเป็นข้อมูลให้ประชาชนตระหนักถึงภัยอันตราย สังเกตเห็นว่าพฤติกรรมเหล่านั้นเป็นการหลอกลวงของมิจฉาชีพ จะได้ไม่หลงให้ข้อมูลส่วนตัว ซึ่งอาจทำให้เสียทรัพย์สินได้

1.หลอกขายของออนไลน์

2.Call Center หลอกลวงข่มขู่ อ้างตัวเป็นเจ้าหน้าที่ให้เหยื่อโอนเงินให้

3.เงินกู้ออนไลน์ดอกเบี้ยโหด

4.เงินกู้ออนไลน์ที่ไม่มีจริง (เงินกู้ทิพย์)

5.หลอกให้ลงทุนต่างๆ โดยอ้างผลตอบแทนสูงที่ไม่มีจริง

6.หลอกให้เล่นพนันออนไลน์

7.Romance scam หรือ Hybrid scam หลอกให้รักลวงเอาทรัพย์สิน ลวงให้ลงทุน

8.ลิงก์ปลอมหลอกแฮกข้อมูลโทรศัพท์

9.แชท Line/Facebook ปลอม Account ลวงยืมเงิน

10.หลอกเอาข้อมูลส่วนตัว – OTP

11.ข่าวปลอม (Fake news)

12.หลอกลวงเอาภาพโป๊เปลือยเพื่อใช้แบล็คเมล์

13.โฆษณาออนไลน์ลวงทำงาน หลอกบังคับทำงานในต่างประเทศ

14.ยินยอมให้ผู้อื่นใช้บัญชีธนาคาร (บัญชีม้า) ร่วมกันกระทำผิดฐานฉ้อโกงประชาชน หรือฟอกเงิน
หัวข้อ: Re: ระวังมิจฉาชีพทางโทรศัพท์ แก็งคอลเซ็นเตอร์ 14 รูปแบบ มีอะไรบ้าง
เริ่มหัวข้อโดย: kaentong ที่ 17 กุมภาพันธ์ 2022, 05:55:31

ระวังมิจฉาชีพทางโทรศัพท์ แก็งคอลเซ็นเตอร์ 14 รูปแบบ มีอะไรบ้าง

ระวังมิจฉาชีพทางโทรศัพท์ แก็งคอลเซ็นเตอร์ 14 รูปแบบ โดยเมื่อช่วงบ่ายวันที่ 15 กุมภาพันธ์ 2565 สำนักงาน กสทช. ร่วมประชุมหารือกับศูนย์ปราบปรามอาชญากรรมทางเทคโนโลยีสารสนเทศ (ศปอส.ตร.) หรือ ศูนย์ PCT ที่นำโดย พล.ต.อ.ดำรงศักดิ์ กิตติประภัสร์ รอง ผบ.ตร. ผู้แทนกระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม (ดีอีเอส) และผู้ให้บริการโทรศัพท์เคลื่อนที่ทุกราย ได้แก่ AIS TRUE DTAC และ NT เกี่ยวกับความร่วมมือในการแก้ไขปัญหา Call Center และ SMS หลอกลวง

โดยสำนักงาน กสทช. พร้อมให้ความร่วมมือกับ สตช. และกระทรวงดีอีเอส ในการแก้ไขปัญหาดังกล่าว และยังจะร่วมกับโอเปอเรเตอร์ในการดำเนินการประชาสัมพันธ์ ให้ความรู้แก่ประชาชนเกี่ยวกับรูปแบบอาชญากรรมทางเทคโนโลยีที่มิจฉาชีพมักใช้ในการหลอกลวง เพื่อเป็นข้อมูลให้ประชาชนตระหนักถึงภัยอันตราย สังเกตเห็นว่าพฤติกรรมเหล่านั้นเป็นการหลอกลวงของมิจฉาชีพ จะได้ไม่หลงให้ข้อมูลส่วนตัว ซึ่งอาจทำให้เสียทรัพย์สินได้

1.หลอกขายของออนไลน์

2.Call Center หลอกลวงข่มขู่ อ้างตัวเป็นเจ้าหน้าที่ให้เหยื่อโอนเงินให้

3.เงินกู้ออนไลน์ดอกเบี้ยโหด

4.เงินกู้ออนไลน์ที่ไม่มีจริง (เงินกู้ทิพย์)

5.หลอกให้ลงทุนต่างๆ โดยอ้างผลตอบแทนสูงที่ไม่มีจริง

6.หลอกให้เล่นพนันออนไลน์

7.Romance scam หรือ Hybrid scam หลอกให้รักลวงเอาทรัพย์สิน ลวงให้ลงทุน

8.ลิงก์ปลอมหลอกแฮกข้อมูลโทรศัพท์

9.แชท Line/Facebook ปลอม Account ลวงยืมเงิน

10.หลอกเอาข้อมูลส่วนตัว – OTP

11.ข่าวปลอม (Fake news)

12.หลอกลวงเอาภาพโป๊เปลือยเพื่อใช้แบล็คเมล์

13.โฆษณาออนไลน์ลวงทำงาน หลอกบังคับทำงานในต่างประเทศ

14.ยินยอมให้ผู้อื่นใช้บัญชีธนาคาร (บัญชีม้า) ร่วมกันกระทำผิดฐานฉ้อโกงประชาชน หรือฟอกเงิน
หัวข้อ: Re: ระวังมิจฉาชีพทางโทรศัพท์ แก็งคอลเซ็นเตอร์ 14 รูปแบบ มีอะไรบ้าง
เริ่มหัวข้อโดย: kaentong ที่ 01 มีนาคม 2022, 08:20:07


ระวังมิจฉาชีพทางโทรศัพท์ แก็งคอลเซ็นเตอร์ 14 รูปแบบ มีอะไรบ้าง

ระวังมิจฉาชีพทางโทรศัพท์ แก็งคอลเซ็นเตอร์ 14 รูปแบบ โดยเมื่อช่วงบ่ายวันที่ 15 กุมภาพันธ์ 2565 สำนักงาน กสทช. ร่วมประชุมหารือกับศูนย์ปราบปรามอาชญากรรมทางเทคโนโลยีสารสนเทศ (ศปอส.ตร.) หรือ ศูนย์ PCT ที่นำโดย พล.ต.อ.ดำรงศักดิ์ กิตติประภัสร์ รอง ผบ.ตร. ผู้แทนกระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม (ดีอีเอส) และผู้ให้บริการโทรศัพท์เคลื่อนที่ทุกราย ได้แก่ AIS TRUE DTAC และ NT เกี่ยวกับความร่วมมือในการแก้ไขปัญหา Call Center และ SMS หลอกลวง

โดยสำนักงาน กสทช. พร้อมให้ความร่วมมือกับ สตช. และกระทรวงดีอีเอส ในการแก้ไขปัญหาดังกล่าว และยังจะร่วมกับโอเปอเรเตอร์ในการดำเนินการประชาสัมพันธ์ ให้ความรู้แก่ประชาชนเกี่ยวกับรูปแบบอาชญากรรมทางเทคโนโลยีที่มิจฉาชีพมักใช้ในการหลอกลวง เพื่อเป็นข้อมูลให้ประชาชนตระหนักถึงภัยอันตราย สังเกตเห็นว่าพฤติกรรมเหล่านั้นเป็นการหลอกลวงของมิจฉาชีพ จะได้ไม่หลงให้ข้อมูลส่วนตัว ซึ่งอาจทำให้เสียทรัพย์สินได้

1.หลอกขายของออนไลน์

2.Call Center หลอกลวงข่มขู่ อ้างตัวเป็นเจ้าหน้าที่ให้เหยื่อโอนเงินให้

3.เงินกู้ออนไลน์ดอกเบี้ยโหด

4.เงินกู้ออนไลน์ที่ไม่มีจริง (เงินกู้ทิพย์)

5.หลอกให้ลงทุนต่างๆ โดยอ้างผลตอบแทนสูงที่ไม่มีจริง

6.หลอกให้เล่นพนันออนไลน์

7.Romance scam หรือ Hybrid scam หลอกให้รักลวงเอาทรัพย์สิน ลวงให้ลงทุน

8.ลิงก์ปลอมหลอกแฮกข้อมูลโทรศัพท์

9.แชท Line/Facebook ปลอม Account ลวงยืมเงิน

10.หลอกเอาข้อมูลส่วนตัว – OTP

11.ข่าวปลอม (Fake news)

12.หลอกลวงเอาภาพโป๊เปลือยเพื่อใช้แบล็คเมล์

13.โฆษณาออนไลน์ลวงทำงาน หลอกบังคับทำงานในต่างประเทศ

14.ยินยอมให้ผู้อื่นใช้บัญชีธนาคาร (บัญชีม้า) ร่วมกันกระทำผิดฐานฉ้อโกงประชาชน หรือฟอกเงิน

หัวข้อ: Re: ระวังมิจฉาชีพทางโทรศัพท์ แก็งคอลเซ็นเตอร์ 14 รูปแบบ มีอะไรบ้าง
เริ่มหัวข้อโดย: kaentong ที่ 06 กรกฎาคม 2022, 09:53:20


ระวังมิจฉาชีพทางโทรศัพท์ แก็งคอลเซ็นเตอร์ 14 รูปแบบ มีอะไรบ้าง

ระวังมิจฉาชีพทางโทรศัพท์ แก็งคอลเซ็นเตอร์ 14 รูปแบบ โดยเมื่อช่วงบ่ายวันที่ 15 กุมภาพันธ์ 2565 สำนักงาน กสทช. ร่วมประชุมหารือกับศูนย์ปราบปรามอาชญากรรมทางเทคโนโลยีสารสนเทศ (ศปอส.ตร.) หรือ ศูนย์ PCT ที่นำโดย พล.ต.อ.ดำรงศักดิ์ กิตติประภัสร์ รอง ผบ.ตร. ผู้แทนกระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม (ดีอีเอส) และผู้ให้บริการโทรศัพท์เคลื่อนที่ทุกราย ได้แก่ AIS TRUE DTAC และ NT เกี่ยวกับความร่วมมือในการแก้ไขปัญหา Call Center และ SMS หลอกลวง

โดยสำนักงาน กสทช. พร้อมให้ความร่วมมือกับ สตช. และกระทรวงดีอีเอส ในการแก้ไขปัญหาดังกล่าว และยังจะร่วมกับโอเปอเรเตอร์ในการดำเนินการประชาสัมพันธ์ ให้ความรู้แก่ประชาชนเกี่ยวกับรูปแบบอาชญากรรมทางเทคโนโลยีที่มิจฉาชีพมักใช้ในการหลอกลวง เพื่อเป็นข้อมูลให้ประชาชนตระหนักถึงภัยอันตราย สังเกตเห็นว่าพฤติกรรมเหล่านั้นเป็นการหลอกลวงของมิจฉาชีพ จะได้ไม่หลงให้ข้อมูลส่วนตัว ซึ่งอาจทำให้เสียทรัพย์สินได้

1.หลอกขายของออนไลน์

2.Call Center หลอกลวงข่มขู่ อ้างตัวเป็นเจ้าหน้าที่ให้เหยื่อโอนเงินให้

3.เงินกู้ออนไลน์ดอกเบี้ยโหด

4.เงินกู้ออนไลน์ที่ไม่มีจริง (เงินกู้ทิพย์)

5.หลอกให้ลงทุนต่างๆ โดยอ้างผลตอบแทนสูงที่ไม่มีจริง

6.หลอกให้เล่นพนันออนไลน์

7.Romance scam หรือ Hybrid scam หลอกให้รักลวงเอาทรัพย์สิน ลวงให้ลงทุน

8.ลิงก์ปลอมหลอกแฮกข้อมูลโทรศัพท์

9.แชท Line/Facebook ปลอม Account ลวงยืมเงิน

10.หลอกเอาข้อมูลส่วนตัว – OTP

11.ข่าวปลอม (Fake news)

12.หลอกลวงเอาภาพโป๊เปลือยเพื่อใช้แบล็คเมล์

13.โฆษณาออนไลน์ลวงทำงาน หลอกบังคับทำงานในต่างประเทศ

14.ยินยอมให้ผู้อื่นใช้บัญชีธนาคาร (บัญชีม้า) ร่วมกันกระทำผิดฐานฉ้อโกงประชาชน หรือฟอกเงิน